ประเทศไทยออกเป็น 6 ภาค โดยใช้เกณฑ์ด้านภูมิศาสตร์
Posted by: khun240688 on: May 23, 2010
การแบ่งอย่างเป็นทางการ
แผนที่ประเทศไทยแสดงเขตรัฐกิจของจังหวัดต่างๆ
ภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคกลาง
ภาคตะวันออก
ภาคตะวันตก
ภาคใต้
ภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคกลาง
ภาคตะวันออก
ภาคตะวันตก
ภาคใต้
ราชบัณฑิตยสถาน แบ่งประเทศไทยออกเป็น 6 ภาค โดยใช้เกณฑ์ด้านภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็นการแบ่งที่ใช้อย่างเป็นทางการ และมีใช้ทั่วไปในแบบเรียน
ภาคเหนือ
มี 9 จังหวัด
มี 9 จังหวัด
1.จังหวัดเชียงราย
2.จังหวัดเชียงใหม่
3.จังหวัดน่าน
4.จังหวัดพะเยา
5.จังหวัดแพร่
6.จังหวัดแม่ฮ่องสอน
7.จังหวัดลำปาง
8.จังหวัดลำพูน
9.จังหวัดอุตรดิตถ์
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มี 19 จังหวัด
2.จังหวัดเชียงใหม่
3.จังหวัดน่าน
4.จังหวัดพะเยา
5.จังหวัดแพร่
6.จังหวัดแม่ฮ่องสอน
7.จังหวัดลำปาง
8.จังหวัดลำพูน
9.จังหวัดอุตรดิตถ์
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มี 19 จังหวัด
1.จังหวัดกาฬสินธุ์
2.จังหวัดขอนแก่น
3.จังหวัดชัยภูมิ
4.จังหวัดนครพนม
5.จังหวัดนครราชสีมา
6.จังหวัดบุรีรัมย์
7.จังหวัดมหาสารคาม
8.จังหวัดมุกดาหาร
9.จังหวัดยโสธร
10.จังหวัดร้อยเอ็ด
11.จังหวัดเลย
12.จังหวัดสกลนคร
13.จังหวัดสุรินทร์
14.จังหวัดศรีสะเกษ
15.จังหวัดหนองคาย
16.จังหวัดหนองบัวลำภู
17.จังหวัดอุดรธานี
18.จังหวัดอุบลราชธานี
19.จังหวัดอำนาจเจริญ
ภาคกลาง
มีกรุงเทพมหานคร และอีก 21 จังหวัด
2.จังหวัดขอนแก่น
3.จังหวัดชัยภูมิ
4.จังหวัดนครพนม
5.จังหวัดนครราชสีมา
6.จังหวัดบุรีรัมย์
7.จังหวัดมหาสารคาม
8.จังหวัดมุกดาหาร
9.จังหวัดยโสธร
10.จังหวัดร้อยเอ็ด
11.จังหวัดเลย
12.จังหวัดสกลนคร
13.จังหวัดสุรินทร์
14.จังหวัดศรีสะเกษ
15.จังหวัดหนองคาย
16.จังหวัดหนองบัวลำภู
17.จังหวัดอุดรธานี
18.จังหวัดอุบลราชธานี
19.จังหวัดอำนาจเจริญ
ภาคกลาง
มีกรุงเทพมหานคร และอีก 21 จังหวัด
1.จังหวัดกำแพงเพชร
2.จังหวัดชัยนาท
3.จังหวัดนครนายก
4.จังหวัดนครปฐม
5.จังหวัดนครสวรรค์
6.จังหวัดนนทบุรี
7.จังหวัดปทุมธานี
8.จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
9.จังหวัดพิจิตร
10.จังหวัดพิษณุโลก
11.จังหวัดเพชรบูรณ์
12.จังหวัดลพบุรี
13.จังหวัดสมุทรปราการ
14.จังหวัดสมุทรสงคราม
15.จังหวัดสมุทรสาคร
16.จังหวัดสิงห์บุรี
17.จังหวัดสุโขทัย
18.จังหวัดสุพรรณบุรี
19.จังหวัดสระบุรี
20.จังหวัดอ่างทอง
21.จังหวัดอุทัยธานี
ภาคตะวันออก
มี 7 จังหวัด
2.จังหวัดชัยนาท
3.จังหวัดนครนายก
4.จังหวัดนครปฐม
5.จังหวัดนครสวรรค์
6.จังหวัดนนทบุรี
7.จังหวัดปทุมธานี
8.จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
9.จังหวัดพิจิตร
10.จังหวัดพิษณุโลก
11.จังหวัดเพชรบูรณ์
12.จังหวัดลพบุรี
13.จังหวัดสมุทรปราการ
14.จังหวัดสมุทรสงคราม
15.จังหวัดสมุทรสาคร
16.จังหวัดสิงห์บุรี
17.จังหวัดสุโขทัย
18.จังหวัดสุพรรณบุรี
19.จังหวัดสระบุรี
20.จังหวัดอ่างทอง
21.จังหวัดอุทัยธานี
ภาคตะวันออก
มี 7 จังหวัด
1.จังหวัดจันทบุรี
2.จังหวัดฉะเชิงเทรา
3.จังหวัดชลบุรี
4.จังหวัดตราด
5.จังหวัดปราจีนบุรี
6.จังหวัดระยอง
7.จังหวัดสระแก้ว
ภาคตะวันตก
มี 5 จังหวัด
2.จังหวัดฉะเชิงเทรา
3.จังหวัดชลบุรี
4.จังหวัดตราด
5.จังหวัดปราจีนบุรี
6.จังหวัดระยอง
7.จังหวัดสระแก้ว
ภาคตะวันตก
มี 5 จังหวัด
1.จังหวัดกาญจนบุรี
2.จังหวัดตาก
3.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
4.จังหวัดเพชรบุรี
5.จังหวัดราชบุรี
ภาคใต้
มี 14 จังหวัด
2.จังหวัดตาก
3.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
4.จังหวัดเพชรบุรี
5.จังหวัดราชบุรี
ภาคใต้
มี 14 จังหวัด
1.จังหวัดกระบี่
2.จังหวัดชุมพร
3.จังหวัดตรัง
4.จังหวัดนครศรีธรรมราช
5.จังหวัดนราธิวาส
6.จังหวัดปัตตานี
7.จังหวัดพังงา
8.จังหวัดพัทลุง
9.จังหวัดภูเก็ต
10.จังหวัดระนอง
11.จังหวัดสตูล
12.จังหวัดสงขลา
13.จังหวัดสุราษฎร์ธานี
14.จังหวัดยะลา
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
สภาพภูมิศาสตร์ล้วนมีอิทธิพลอย่างสำคัญต่อการกำหนดพฤติกรรมการดำรงชีวิตของประชากร
ดังนั้น
เราจึงควรศึกษาทำความเข้าใจให้ถ่องแท้ว่าสภาพแวดล้อมทางกายภาพของประเทศไทยเป็นเช่นใด
ลักษณะเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างไร ตลอดจนเข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างประชากรกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ทั้งนี้เพื่อที่เราจะได้เข้าใจสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทย
และสามารถปรับตนเองให้เข้ากับธรรมชาติเป็นอย่างดีได้
.
ลักษณะทั่วไปทางภูมิศาสตร์
|
.1 ที่ตั้ง
ราชอาณาจักรไทยหรือที่เรียกกันว่า” ประเทศไทย” นั้น มีที่ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอินโดจีนซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย มีตำแหน่งพิกัดทางภูมิศาสตร์ที่ละติจูด 5 องศา 37 ลิปดาเหนือถึง 20 องศา 28 ลิปดาเหนือ จึงอยู่ในเขตร้อน ทำให้มีอุณหภูมิสูงตลอดปี และมีตำแหน่งลองจิจูดที่ 97องศา 21 ลิปดาตะวันออกถึง 105 องศา 37 ลิปดาตะวันออก
ราชอาณาจักรไทยหรือที่เรียกกันว่า” ประเทศไทย” นั้น มีที่ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอินโดจีนซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย มีตำแหน่งพิกัดทางภูมิศาสตร์ที่ละติจูด 5 องศา 37 ลิปดาเหนือถึง 20 องศา 28 ลิปดาเหนือ จึงอยู่ในเขตร้อน ทำให้มีอุณหภูมิสูงตลอดปี และมีตำแหน่งลองจิจูดที่ 97องศา 21 ลิปดาตะวันออกถึง 105 องศา 37 ลิปดาตะวันออก
แผนที่ประเทศไทยแสดงจังหวัดต่างๆตามภูมิภาค
|
ประเทศไทยมีพิกัดภูมิศาสตร์ ดังนี้
จุดเหนือสุด พื้นที่อำเภทแม่สาย จ.เชียงราย ละติจูด 99 องศา 58 ลิปดาตะวันออก
จุดใต้สุด พื้นที่อำเภอเบตง จ.ยะลา ละติจูดที่ 5 องศา 37 ลิปดาเหนือ และลองจิจูด 101 องศา 08 ลิปดาตะวันออก
จุดตะวันออกสุด พื้นที่อำเภอศรีเมืองใหม่ จ.อุบลราชธานี ละติจูด 15 องศา 38 ลิปดาเหนือ
และลองจิจูดที่ 105 องศา 37 ลิปดาตะวันออก
จุดตะวันตกสุด พื้นที่อ. แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน ละติจูด 18 องศา 34 ลิปดาเหนือและลองจิจูดที่
97 องศา 21 ลิปดาตะวันออก
1.2 รูปร่าง
ประเทศไทยมีลักษณะคล้ายขวาน โดยภาคใต้มีลักษณะเป็นด้ามขวาน
แนวด้านตะวันตก มีลักษณะเป็นสันขวาน ภาคเหนือเป็นหัวขวาน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออกเป็นคมขวาน จากลักษณะดังกล่าว
ความยาวตั้งแต่เหนือสุดถึงใต้สุด ซึ่งวัดจากอ.แม่สาย จ.เชียงรายไปจนถึงอ.เบตง
จ.ยะลา มีความยาว
1,650 กิโลเมตร ส่วนที่กว้างสุดจากตะวันตกไปตะวันออก
โดยวัดจากอำเภอสังขละบุรี จ.กาญจนบุรี ไปยังอ.สิรินธร จ.อุบลราชธานี เป็นระยะทาง
800 กิโลเมตร ส่วนที่แคบที่สุดของประเทศอยู่ที่ตำบลคลองวาฬ อ.เมือง
จ.ประจวบคีรีขันธ์ วัดระยะจากชายแดนสหภาพพม่าไปจนถึงทะเลอ่าวไทย มีระยะทาง
10.6 กิโลเมตร
แต่ส่วนที่แคบสุดของแหลมมลายูแผ่นดินระหว่างอ่าวไทยและทะเลอันดามันเรียกว่า
“ คอคอดกระ” อยู่ในพื้นที่ของจ.ระนองกับชุมพร
มีระยะทาง 50 กิโลเมตร
1.3 อาณาเขตและเขตแดน
การบางเขตแดนระหว่างประเทศ
โดยทั่วไปใช้ลักษณะทางธรรมชาติเป็นแนวกำหนด เช่น
บริเวณชายแดนที่เป็นภูเขาจะใช้แนวสันปันน้ำ
บริเวณที่เป็นแม่น้ำและคลองจะใช้ร่องน้ำลึก
แต่หากเป็นที่ราบหรือพื้นที่ที่มีการตกลงในสัญญาจะใช้หลักเขต
หรือบางแห่งสร้างเป็นกำแพงหรือรั้วลวดหนาม
ประเทศไทยมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน 4 ประเทศ ดังนี้
1. ด้านสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
มีชายแดนติดต่อกับประเทศไทยนับตั้งแต่บริเวณสามเหลี่ยมทองคำ จ.เชียงราย ผ่าน
จ.พะเยา น่าน เลย หนองคาย โดยมีพื้นที่ชายแดนที่เป็นภูเขา แม่น้ำ และที่ราบแม่น้ำโขง
2. ด้านสหภาพพม่า
มีชายแดนติดต่อกับประเทศไทยนับตั้งแต่บริเวณสามเหลี่ยมทองคำ บ้านสบรวก อ. เชียงแสน
จ. เชียงราย ลัดเลาะชายแดนที่เป็นภูเขาและแม่น้ำผ่าน จ.เชียงใหม่ ตาก ราชบุรี บริเวณที่เป็นภูเขาใช้สันปันน้ำเป็นแนวเขต บริเวณที่มีแม่น้ำไหลใช้ร่องน้ำลึกเป็นแนวเขต เนื่องจากตะเข็บชายแดนด้านนี้มีชนกลุ่มน้อยของพม่าหลายเผ่า
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น